• Notes
    • หมายเหตุ


      บทที่ 1

      1.
      โทรทัศน์สุพรีมมาสเตอร์ “การประกาศสาธารณะเกี่ยวกับภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง: สิ่งที่ผู้ทรงเกียรติพูด” SupremeMasterTV.com/bbs/tb.php/sos_video/17 
      2. การวิจัยที่ยูเอ็นอ้างถึงในที่นี้คือเฮนนิ่ง สไตน์เฟลด์ และคณะ, เงามืดที่ทอดยาวของการปศุสัตว์: ปัญหาและทางเลือกทางสิ่งแวดล้อม องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ 2006
      3. โรเบิร์ต กู๊ดแลนด์ และเจฟ อันฮัง พบว่า “การปศุสัตว์ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 32,564 ล้านตัน ซึ่งเท่ากับ 51 เปอร์เซ็นต์ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลก” อ่านบทความของพวกเขาได้ที่ “Livestock and Climate Change,” Worldwatch Magazine, (Nov/Dec, 2009), 10-19. http://www.worldwatch.org/node/6294
      4. ในหนังสือเล่มเดียวกับ 11
      5. เป็นเพราะตอนที่ธัญพืชถูกใช้ไปกับการเลี้ยงสัตว์เพื่อการบริโภคของมนุษย์ 90% ของพลังงานจากธัญพืชเดิมจะสูญเสียไป
      6. ท่านอนุตราจารย์ชิงไห่ “การประกาศสาธารณะเกี่ยวกับภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง”
      7. ลูคัส เรจินเดอร์ส และ แซน โซเรท การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของทางเลือกการทานโปรตีนชนิดต่าง ๆThe American Journal of Clinical Nutrition, Vol. 78, No. 3 (September 2003), 664S-668S http://www.ajcn.org/content/78/3/664S.full
      8. โครงการอาหารโลกสถิติความหิวโหย,” http://www.wfp.org/hunger/stats
      9. UNEP, การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของการบริโภคและการผลิต. มิถุนายน, 2010 http://www.unep.fr/scp/publications/details.asp?id=DTI/1262/PA
      10. กู๊ดแลนด์ และ อันฮัง, “การปศุสัตว์และภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง” 15
      11. ดูที่ เอลเค้ สเตห์เฟสต์ และคณะ “ประโยชน์ต่อภูมิอากาศของการเปลี่ยนการทานอาหาร” องค์กรประเมินสิ่งแวดล้อมของเนเธอร์แลนด์ สามารถอ่านออนไลน์ได้ที่ http://www.pbl.nl/en/publications/2009/climate-benefits-of-changing-diet.html
      12. การศึกษานี้โดย SIWI and IWMI (สถาบันการจัดการน้ำนานาชาติสต๊อคโฮล์ม), “การประหยัดน้ำจากทุ่งสู่ส้อม” (พฤษภาคม 2008) พบว่า 70% ของน้ำสะอาดถูกใช้ไปกับการเลี้ยงปศุสัตว์ http://www.siwi.org/documents/resources/Policy_Briefs/PB_from_Field_to_Fork_2008.pdf ศูนย์วิจัยป่าไม้นานาชาติ (อินโดนีเซีย) กล่าวว่า 60-70 เปอร์เซ็นต์ ของการตัดไม้ทำลายป่าฝนอเมซอนเป็นผลมาจากการทำฟาร์มวัว ดูที่ ศูนย์การวิจัยป่าไม้นานาชาติ, “ผลกระทบของความต้องการเนื้อวัวที่เพิ่มสูงขึ้นที่มีต่อป่าฝนอเมซอนที่ประเทศบราซิล” 2 เมษายน, 2004, http://www.mongabay.com/external/brazil_beef_amazon.htm และดูที่ ซีส เดอ ฮาน และคณะ, การปศุสัตว์และสิ่งแวดล้อม: การหาสมดุล, บทที่ 2 http://www.fao.org/ag/againfo/programmes/en/lead/toolbox/FAO/Main1/index.htm
      13. ในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเดอร์การ์เดียน ในวันที่ 15 เมษายน 2008 ผู้เขียนบทความ จอร์จ โมนิบอท อ้างอิงสถิติของ FAO และกล่าวว่า “ขณะที่อาหาร 100 ล้านตันจะถูกผันไปเป็นเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ 760 ล้านตันจะถูกโฉบไปจากปากมนุษย์เพื่อเลี้ยงสัตว์ สิ่งนี้สามารถคลอบคลุมการขาดแคลนอาหารได้ 14 เท่า ถ้าคุณใส่ใจเกี่ยวกับความหิวโหย จงทานเนื้อสัตว์ให้น้อยลง” http://www.guardian.co.uk/commentisfree/2008/apr/15/food.biofuels?INTCMP=SRCH
      14. นี่คือการประมาณของท่านอนุตราจารย์ชิงไห่ ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลที่ได้รับการนำเสนอในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เมื่อไม่นานมานี้ ยกตัวอย่างเช่น ตามสเตอร์น รีวิว มันได้รับการประมาณว่า ภายในปี 2050 ค่าใช้จ่ายสำหรับการปรับตัวเข้ากับภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง อาจสูงถึง 10 - 40 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปี ดูที่ นิโคลัส สเตอร์น และคณะ เศรษฐกิจของภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง: สเตอร์นรีวิว เอช เอ็ม เทร์เชอร์รี่ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2009 องค์กรประเมินสิ่งแวดล้อมแห่งเนเธอร์แลนด์ ตีพิมพ์รายงานฉบับใหม่ ซึ่งรวมถึงคำแนะนำด้านนโยบายสำหรับประเทศเนเธอร์แลนด์และนานาชาติ ในเรื่องความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม รายงานฉบับนี้ สรุปว่า 70% ของค่าใช้จ่ายในการบรรเทาภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงสามารถประหยัดได้ ด้วยการที่โลกนี้เปลี่ยนไปทานอาหารปลอดเนื้อสัตว์ โดยจะประหยัดได้ 80% ด้วยการทานผลิตภัณฑ์ ปลอดเนื้อสัตว์ทุกชนิด (อาหารวีแก้น) “ค่าใช้จ่ายมูลค่ารวมในปัจจุบัน ในช่วงปี 2000 – 2050 ในทั้ง NoRM (ปลอดสัตว์เคี้ยวเอื้อง) และ NoM (ปลอดเนื้อสัตว์) จะลดไป 70% เมื่อเทียบกับกรณีฐาน (0.3% ของจีดีพี และ ไม่ใช่ 1%) และสูงยิ่งกว่า 80% ในกรณีของ NoAP (ปลอดผลิตภัณฑ์จากสัตว์) (ตารางที่ 6)” (หน้า 14) และ “ยกตัวอย่างเช่น ในการทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ การปล่อยก๊าซโดยรวมถูกลงเหลือประมาณ 20% ขณะที่ค่าใช้จ่ายลดลงกว่า 50%” (20 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ) (หน้าที่ 15) ตามมูลค่าในรายงานของสเตอร์น มูลค่าที่คาดว่าจะประหยัดได้คือ 28 ล้านล้านดอลลาร์ และ 32 ล้านล้านดอลลาร์ตามลำดับ
      15. ในหนังสือเล่มเดียวกัน


      บทที่ 2

      16. นักวิทยาศาสตร์สภาพอากาศนาซ่า เจย์ ซวอลเลย์ อธิบายความเร่งด่วนของสถานการณ์ดังนี้ มหาสมุทรอาร์คติก อาจเกือบไร้น้ำแข็งที่สิ้นฤดูร้อน 2012, เร็วกว่าที่เคยทำนายไว้ ดู น้ำแข็งอาร์คติก สามารถหายไปในห้าปี’” เดอะ เทเลกราฟ, 12 ธันวาคม 2007 http://www.telegraph.co.uk/earth/earthnews/3318239/Arcticice-could-be-gone-in-five-years.html 
      17. นักวิทยาศาสตร์จากศูนย์ข้อมูลน้ำแข็งและหิมะแห่งชาติพบว่าในปี 2009, น้ำแข็งที่อายุมากกว่า 2 ปีมีเป็นปริมาณน้อยกว่า 10% ของน้ำแข็งที่ปกคลุมที่สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ ดู น้ำแข็งทะเลอาร์คติกอายุน้อยกว่า, บางกว่า จากที่ฤดูการละลายเริ่มขึ้น, ใน ข่าวและการวิเคราะห์น้ำแข็งอาร์คติก, 6 เมษายน 2009 http://nsidc.org/arcticseaicenews/2009/040609.html 
      18. ผู้บริหารของศูนย์ข้อมูลน้ำแข็งและหิมะแห่งชาติ, ดร. มาร์ค เซอร์เรซ กล่าว, เราอาจที่จะอยู่ในการลื่นไถลลงอย่างรวดเร็วในรูปของการผ่านจุดยอดสุด มันคือจุดยอดสุดตอนนี้ เรากำลังเห็นมันเกิดขึ้นตอนนี้,” อ้างถึงใน อาร์. แบล็ค, น้ำแข็งอาร์คติกกำลังอยู่ในจุดยอดสุด บีบีซี นิวส์ 28 สิงหาคม 2008, http://news.bbc.co.uk/2/hi/7585645.stm ศูนย์ข้อมูลน้ำแข็งและหิมะแห่งชาติ ในสหรัฐอเมริกากล่าว น้ำแข็งทะเลอาร์คติกโดยทั่วไป ไปถึงขอบเขตต่ำสุดประจำปีในกลางเดือนกันยายน สิงหาคมนี้ (2010), ขอบเขตน้ำแข็งอยู่ที่ค่าต่ำสุดอันดับสองในสถิติดาวเทียม, หลังจาก 2007 วันที่ 3 กันยายน (2010) ขอบเขตน้ำแข็งลดลงต่ำกว่าค่าต่ำสุดตามฤดูของปี 2009 ซึ่งกลายเป็น ต่ำที่สุดอันดับสามในสถิติดาวเทียม เส้นทางเดินทางตะวันตกเฉียงเหนือและเส้นทางทะเลทางเหนือ ส่วนใหญ่แล้วปราศจากน้ำแข็ง ซึ่งอนุญาตให้เดินทางได้รอบมหาสมุทรอาร์คติก โปรดดู ขอบเขตน้ำแข็งทะเลอาร์คติกต่ำสุดอัพเดท,” 27 กันยายน 2010, http://nsidc.org/arcticseaicenews/2010/092710.html
      19. โจนาธาน แอล. แบมเบอร์, การประเมินใหม่ของระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นอย่างมีศักยภาพจากการล้มลงของแผ่นน้ำแข็งแอนตาร์คติกตะวันตก วิทยาศาสตร์ 15 พฤษภาคม 2009: 901 903 (ดีโอไอ: 10.1126/วิทยาศาสตร์.1169335 (ในบทความวิจัย) บทคัดย่อ ออนไลน์ที่ http://www.sciencemag.org/content/324/5929/901.short
      20. จากการสำรวจธรณีวิทยา สหรัฐอเมริกา, วัฏจักรน้ำ: การกักเก็บน้ำในน้ำแข็งและหิมะ มีอยู่ออนไลน์ที่ http://ga.water.usgs.gov/edu/watercycleice.html
      21. องค์กรนานาชาติสำหรับการย้ายถิ่นฐาน, การย้ายถิ่นฐานจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง, และการเสื่อมของสิ่งแวดล้อม: คอมเพล็ก เนซัส มีอยู่ออนไลน์ที่ http://www.iom.int/jahia/Jahia/complex-nexus
      22. ที่การประชุมครั้งที่สามของพรรคแห่ง ยูเอ็นเอฟซีซีซี จัดขึ้นที่เกียวโต, ญี่ปุ่น, เอช. อี. มอมูน อับดุล เกยูม มัลดีฟส์ เรียกร้องผู้นำโลกให้จัดการกับสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงดังนี้ มัลดีฟส์เป็นหนึ่งในรัฐเล็กๆ แต่สิ่งที่คุณทำหรือไม่ทำที่นี่จะมีผลอย่างมากต่อชะตาของผู้คนของฉัน มันสามารถเปลี่ยนเส้นทางของประวัติศาสตร์โลก
      23. มหาวิทยาลัย อลาสก้า, แฟร์แบงค์, ฟองมีเทน จากทะเลสาบอาร์คติก, ตอนนี้และที่สิ้นยุคน้ำแข็งสุดท้าย วิทยาศาสตร์ประจำวัน; 26 ตุลาคม 2007, http://www.sciencedaily.com/releases/2007/10/071025174618.htm เช่นกัน ดู นักวิทยาศาสตร์พบการเพิ่มขึ้นของระดับมีเทนในมหาสมุทรอาร์คติก วิทยาศาสตร์ประจำวัน, 18 ธันวาคม 2008, http://www.sciencedaily.com/releases/2008/12/081217203407.htm ในรายงานเมื่อเร็วๆนี้จำนวนหนึ่ง นักวิทยาศาสตร์ได้ทำเอกสาร ความเข้มข้นของมีเทนที่ถูกปล่อยออกจากพื้นที่ก้นทะเลใกล้กับไซบีเรียตะวันออก, รัสเซีย, และ สปิทส์เบอร์เจน ดู, ยกตัวอย่าง, จูดิธ เบิร์นส์, มีเทนซึมออกมาอย่างช้าๆก้นทะเล,” บีบีซี นิวส์, 19 สิงหาคม 2009 http://news.bbc.co.uk/2/hi/8205864.stm  และ สตีฟ คอนเนอร์, พิเศษ: มีเทน ระเบิดเวลา,” เดอะ อินดีเพนเดนท์, 23 กันยายน 2009, http://www.independent.co.uk/environment/climate-change/exclusive-themethane-timebomb-938932.html 
      24. ดู จอห์น แอทเชสัน, ระเบิดเวลาทั่วโลกทำงาน บัลติมอร์ ซัน, 15 ธันวาคม 2004, จาก http://www.commondreams.org/views04/1215-24.htm 
      25. ในการสัมภาษณ์กับโทรทัศน์สุพรีมมาสเตอร์, ดร. เกรกอร์รี ไรสกิน แห่ง มหาวิทยาลัย นอร์ธเวสเทิร์น พูดคุยในงานวิจัยของเขาระบุว่า เมื่อ 250 ล้านปีก่อน การระเบิดของมีเทนจากมหาสมุทรเป็นสาเหตุของการสูญพันธุ์ของ 90% ของสายพันธุ์สัตว์น้ำและ 75% ของสายพันธุ์สัตว์บนพื้นดิน, เพิ่มเติมว่า, ถ้ามันเคยเกิดขึ้นครั้งหนึ่ง, มันก็สามารถเกิดขึ้นได้อีก http://pangea.stanford.edu/research/Oceans/GES205/methaneGeology.pdf
      26. ยกตัวอย่าง, ในการสัมภาษณ์กับโทรทัศน์สุพรีมมาสเตอร์, นักธารน้ำแข็งชาวอินเดีย ดร. แจกดิช บาฮาเดอร์ พูดคุยถึงความสัมพันธ์ระหว่างการหดตัวของธารน้ำแข็งและภัยพิบัติอย่างเช่น น้ำท่วมและความแห้งแล้งว่า: “ธารน้ำแข็งหิมาลัย โดยทั่วไปมีการหดตัวเหมือนกับที่อื่นๆของดวงดาว เนื่องจากภาวะโลกร้อน การละลายอย่างต่อเนื่องที่อัตราปัจจุบันจะเป็นผลให้เกิดน้ำท่วมใหญ่ ในทันใดเมื่อธารน้ำแข็งเลื่อนลง พวกมันปล่อยน้ำออกมามากกว่า, ตามมาด้วยความแห้งแล้ง โทรทัศน์สุพรีมมาสเตอร์, ธารน้ำแข็งหิมาลัยกำลังหายไป 25 มีนาคม 2009 http://suprememastertv.com/bbs/board.php?bo_table=sos_video&wr_id=83&goto_url 
      27. ตัวแทนปกป้องสิ่งแวดล้อม สหรัฐอเมริกา, สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม: เหตุการณ์สุดขั้ว” http://www.epa.gov/climatechange/effects/extreme.html
      28. แอนเน มินนาร์ด, ไม่มีธารน้ำแข็งอีกต่อไปในสวนธารน้ำแข็งแห่งชาติ ภายในปี 2020? ข่าวเนชั่นแนล จีโอกราฟฟิก, 2 มีนาคม 2009, http://news.nationalgeographic.com/news/2009/03/090302-glaciers-melting.html
      29. มหาวิทยาลัยแห่งโคโลราโด ที่เบาว์เดอร์, แหล่งน้ำตะวันตก ถูกคุกคามโดยสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง: สภาพอากาศที่อบอุ่นสามารถทำให้แหล่งเก็บสำรองในที่ราบลุ่มแม่น้ำโคโลราโดหมดสิ้นภายในกลางศตวรรษ กรกฎาคม 2009, http://geology.com/press-release/colorado-river-water-supply
      30. การสูญเสียธารน้ำแข็งแอนดิส คุกคามแหล่งน้ำ, เตห์ราน ไทมส์, 28 พฤศจิกายน 2007 http://www.tehrantimes.com/index_View.asp?code=158041
      31. พิว โอเชี่ยน คอมมิสชั่น อเมริกัน ลีฟวิ่ง โอเชี่ยน : แผนภูมิการเปลี่ยนแปลงทางทะเล : รายงานของประเท 2003 ดูได้ทางออนไลน์ ที่ http://www.pewtrusts.org/our_work_report_detail.aspx?id=30009
      32. ดิแอซ อาร์เจ และ อาร์, โรเซนเบิร์ก “การแพร่ขยายเขตทะเลตาย และผลลัพธ์ต่อระบบวิเวศทางน้ำ” ไซน์ซ ฉบับที่ 321 หมายเลข 5891 (2008) : 926-929 http://www.precaution.org/lib/marine_dead_zones_growing.080815.pdf
      33. “การวิจัยแสดงว่า ปลาใหญ่หมดไป 90% ตั้งแต่ปี 1950” ข่าวเนชั่นแนล จีโอกราฟฟิค 15 พฤษภาคม 2003 http://news.nationalgeographic.com/news/2003/05/0515_030515_fishdecline.html
      34. “ปลาในมหาสมุทรอาจจะหมดไปภายในปี 2050” คิสคัฟเวอรี่ นิวส์ 17 พฤษภาคม 2010” http://news.discovery.com/earth/oceans-fish-fishing-industry.html
      35. โรเบิร์ต แมคเคลอร์ “การตายของออร์ก้าคือสัญญาณสีแดง” ซีแอตเติล โพสท์ อินเทลลิเจนเซอร์ 7 พฤษภาคม 2002 http://www.seattlepi.com/local/69418_whale07.shtml
      36. ตัวอย่างไฟป่าแบล็ค แซทเทอร์เดย์ ที่ไหม้ไปทั่วรัฐวิคตอเรียของออสเตรเลีย เมื่อวันเสาร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2009 ทำให้มีผู้เสียชีวิตเนื่องจากไฟป่า 173 คน และบาดเจ็บ 414 คน นับว่าสูงที่สุดในประเทศ http://www.abc.net.au/innovation/blacksaturday/#/stories/mosaic
      37. เวิร์ลแบงค์ การพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนของสาธารณรัฐเปรู : กุญแจสู่การลดความยากจนในเปรู 1 มิถุนายน 2007 http://siteresources.worldbank.org/INTPERUINSPANISH/Resources/
      PERU_CEA_Full_Report_eng.pdf
      และดู เวิร์ลแบงค์ “ภาวะโลกร้อนในภาคการเกษตร : หมายเหตุประเทศเปรู” มกราคม 2009 หน้า 3 http://siteresources.worldbank.org/INTLAC/Resources/257803-1235077152356/Country_Note_Peru.pdf

      38. “เด็ก ๆ เสียชีวิตในฤดูหนาวที่รุนแรงในเปรู” ข่าวบีบีซี 12 กรกฎาคม 2009 http://news.bbc.co.uk/2/hi/8146995.stm
      39. องค์กรปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐอเมริกา “ภาวะโลกร้อน-ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ : เหตุการณ์วิกฤต” http://www.epa.gov/climatechange/effects/extreme.html.,”
      40. “สามสิบแปดเปอร์เซ็นต์ของผิวโลก อยู่ในอันตรายของการกลายเป็นทะเลทราย” ไซนซ์ เดลี่ 10 กุมภาพันธ์ 2010 http://www.sciencedaily.com/releases/2010/02/100209183133.htm
      41. “ภัยแล้งทำให้ห้าล้านคนในจีนขาดแคลนน้ำ” เอิร์ธ ไทมส์ 23 สิงหาคม 2009 http://www.earthtimes.org/articles/news/282501,drought-causeswatershortage-for-5-million-people-in-china.html 42. “ไฟป่าในออสเตรเลีย มีผู้เสียชีวิตถึง 200 คน” ข่าวบีบีซี 17 กุมภาพันธ์ 2009 http://www.cbc.ca/world/story/2009/02/17/australia-wildfires.html
      43. “อะไรคือการทำลายป่า? แผนการสอนโดยลิซ่า เอ็ม.อัลจี นักศึกษาปริญญาเอก การศึกษาสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ที่ซานตา ครูซ http://kids.mongabay.com/lesson_plans/lisa_algee/deforestation.html
      44.
      มูลนิธิสัตว์ป่าโลก “การทำลายป่า” http://wwf.panda.org/about_our_earth/about_forests/deforestation
      45. ยาคอฟ เซอร์ และคนอื่น ๆ การกำหนดราคาน้ำชลประทาน : หลักการและกรณีศึกษาจากประเทศที่กำลังพัฒนา วอชิงตัน : ทรัพยากรสำหรับอนาคต 2004,
      46. นิวส์ ไวร์ส, “อาร์เจนติน่า ได้สูญเสียเกือบ 70% ของป่าในศตวรรษนี้,” ฟรานซ์ 24, 1 ตุลาคม 2009, http://www.france24.com/en/20090926-argentina-lost-major-part-forests-century-soy-crops-environment
      47. เร็ตต์ เอ บัตเลอร์, “98% ของที่อยู่อาศัยของลิงอุรังอุตังหมดไปในอีก 15 ปีข้างหน้า, “ Mongabay.com, 11 มิถุนายน 2007, http://news.mongabay.com/2007/0611-indonesia.html Also see UNEP, The Last Stand of the Orangutan, available online at http://www.unep.org/grasp/docs/2007Jan-LastStand-of-Orangutan-report.pdf
      48. จะมีการปรึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับคาร์บอนดำ มันไม่เพียงพอที่จะเขียนลงที่นี่ว่านักวิทยาศาสตร์จากสถาบันก้อดดาร์ดเพื่อการศึกษาอวกาศของนาซ่า และมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ดรู ชินเดลล์ และเกร็ค ฟาลูเลกิ พบว่าคาร์บอนดำเป็นสารเพิ่มความร้อนตัวหนึ่งที่รุนแรงเป็นอันดับที่สองหรือสาม ต่อจากมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ และมีส่วนทำให้ 50% ของอาร์ติคละลาย ดูดรู ชินเดลล์ และเกร็ค ฟาลูเลกิ “การตอบสนองทางสภาพภูมิอากาศกับการบังคับแผ่รังสีในแถบภูมิภาคในช่วงศตวรรษที่ 20,” เนเจอร์ จีโอไซเอ็นส์ 2 (เมษายน 2009), 294-300 บทคัดย่อมีออนไลน์ที่ http://www.nature.com/ngeo/journal/v2/n4/abs/ngeo473.html คล้ายๆกัน โนเอล คีนบีไซด์ นักค้นคว้าด้านภูมิอากาศ ณ สถาบันไลบ์นีซเพื่อวิทยาศาสตร์ทางน้ำในเยอรมันนี บ่งชี้ว่า “ในพื้นที่แถบอาร์ติคและแอนตาร์คติค การสะสมของคาร์บอนดำบนหิมะและน้ำแข็งทำให้พื้นผิวดูดซึมความร้อนของพระอาทิตย์มากขึ้น” โนเอล คีนบีไซด์ “วิทยาศาสตร์ด้านชั้นบรรยากาศ: นโยบายอากาศบริสุทธิ์และการอุ่นตัวของอาร์คติก,” เนเจอร์ จีโอไซเอ็นส์ 2 (2009): 243-244 บทคัดย่อออนไลน์ที่ http://www.nature.com/ngeo/journal/v2/n4/full/ngeo486.html
      49. จูเลีย วิตตี้,การสูญพันธุ์สัตว์: การคุกคามที่ยิ่งใหญ่ต่อมนุษยชาติ” เดอะอินดีเพ็นเด็น, 30 เมษายน 2007 http://www.independent.co.uk/environment/animal-extinction--the-greatest-threat-to-mankind-397939.html
      50. ไอพีซีซี (คณะกรรมการระหว่างประเทศเพื่อสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง), รายงานประเมินผลครั้งที่สี่: ความเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบของชั้นบรรยากาศ และการบังคับแผ่รังสี, 2007, 212 มีออนไลน์ที่ http://www.ipcc.ch/pdf/assessment-report/ar4/wg1/ar4-wg1-chapter2.pdf
      51. สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดอ่าน การศึกษาของการแสดงความคิดเห็นของมนุษยธรรมโลก, “รายงานผลกระทบต่อมนุษย์จากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง:สรีระของวิกฤตการณ์เงียบ” มีที่ http://www.eird.org/publicaciones/humanimpactreport.pdf
      52. เควิน วัตคินส์และอื่นๆ รายการพัฒนาการของมนุษย์ 2006: เหนือความขาดแคลน: พลังงาน ความยากจนและวิกฤตการณ์น้ำโลก โปรแกรมพัฒนาของสหประชาชาติ 2006, 20, http://hdr.undp.org/en/reports/global/hdr2006
      53. เอฟเอโอ, “1.02 พันล้านคนหิวโหย หนึ่งในหกของมนุษยชาติที่ขาดสารอาหารมากกว่าแต่ก่อน,” เอฟเอโอ มีเดีย เซ็นเตอร์, 19 มิถุนายน 2009 http://www.fao.org/news/story/0/item/20568/icode/en
      54. เมแก้น โรย์ลิ่ง, “สภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง ทำให้คนเสียชีวิต 315,000 คน รายงานประจำปี,” รอยเตอร์, 29 พฤษภาคม 2009, http://www.reuters.com/article/idUSLS1002309
      55. ในหนังสือเล่มเดียวกัน
      56. “กระทรวงสาธารณสุขเปรูเตือนภัยจากไข้เลือดออกในลีมา ยืนยันในการป้องกัน,” แอนดีน แอร์ เมล์ แอน เปรูเวียน ไทม์ส, 2 มีนาคม 2009, http://www.peruviantimes.com/peru-health-ministry-warns-of-possible-dengue-fever-inlima-insists-onprevention/021936
      57. มันเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าสภาวะโลกร้อนทำให้เกิดน้ำท่วมเพิ่มขึ้นและความแห้งแล้งเป็นเชื้อเพลิงให้เกิดการแพร่กระจายของโรคระบาดในพื้นที่ที่ไม่มีการเตรียมพร้อมรับมือโรคเหล่านี้ ตัวอย่างเช่นรายงานจากวอชิงตัน โพสต์ กล่าวว่า “มาเลเรียกำลังปีนขึ้นภูเขาเข้าถึงประชากรที่อาศัยอยู่ในระดับสูงของอาฟริกาและละติน อเมริกา โรคอหิวาต์กำลังเพิ่มขึ้นในทะเลที่อุ่นขึ้น ไข้เลือดออกและโรคลายม์กำลังเคลื่อนตัวไปทางเหนือ ไวรัสเวสต์ไนล์ ไม่เคยมาก่อนในทวีปนี้จนกระทั่ง 7 ปีก่อน ติดเชื้อคนมากกว่า 21,000 คนในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา และฆ่าคนมากกว่า 800 คน องค์กรสุขภาพโลก ได้บ่งชี้โรคใหม่หรือโรคที่กลับมาใหม่มากกว่า 30 โรคในรอบ 30 ปีที่ผ่านมาตั้งแต่การปฎิบัติอุตสาหกรรม นำพาคนจำนวนมากเข้าสู่ตัวเมือง” ดูสตรัค, ดัก, “สภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงขับเคลื่อนโรคสู่เขตแดนใหม่,” เดอะวอชิงตัน โพสต์, 5 พฤษภาคม 2006 http://www.washingtonpost.com/wp-dyn/content/article/2006/05/04/AR2006050401931.html อ่าน อลิสชา แฮสแชม, “สภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง แพร่กระจายโรคติดเชื้อทั่วโลก,” อินเตอร์เนชั่นเนล นิวส์ เซอร์วิส http://www.internationalnewsservices.com/articles/1-latest-news/17833-climate-changespreads-infectious-diseases-worldwide
      58. จาก “นักวิทยาศาสตร์: อาร์คติกกำลังกรีดร้อง’: สภาวะโลกร้อนอาจจะผ่านจุดหักเห,” ฟอกซ์นิวส์, 12 ธันวาคม 2007, มีออนไลน์ที่ http://www.foxnews.com/story/0,2933,316501,00.html
      59. จากเอฟเอโอ, “ปศุสัตว์ การคุกคามใหญ่หลวงต่อสิ่งแวดล้อม: ต้องการการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน” เอฟเอโอ นิวส์รูม, 29 พฤศจิกายน 2008, มีออนไลน์ที่ http://www.fao.org/newsroom/en/news/2006/1000448/index.html
      60. จากพีเตอร์ ฟริคเกอร์, “ใส่ใจกับสิ่งแวดล้อมไหม? ทานเนื้อสัตว์ให้น้อยลง,” โกลบอล แอน เมล์, 23 มกราคม 2008. มีออนไลน์ที่ http://www.theglobeandmail.com/news/world/article661961.ece
      61. เจอร์รี่ เมเยอร์ และ จอห์น พี โฮล์มส เอ็ดส์, ไอน์สไตน์คำเล็กๆ: คำอ้างอิงเกี่ยวกับทุกสิ่งทุกอย่าง จาก มันสมองที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของศตวรรษที่ 20. เซ็นต์มาร์ตินเพรส, นิวยอร์ค, 1996. หน้า 10

      บทที่ 3

      62. ไอพีซีซี การประเมินผลครั้งที่ 4, 212
      63. เคิร์ค สมิธ, “ควบคุมมีเทน ก่อนวิศวกรรมทางภูมิศาสตร์ที่เสี่ยง ได้โปรดเถิด,” นิว ไซเอ็นทิสต์ 2714 (25 มิถุนายน 2009) http://www.goodplanet.info/eng/Contenu/Pointsde-vues/Methane-controls-before-risky-geoengineering-please/(theme)/268
      64. กู้ดแลนด์ และ อานฮัง, “ปศุสัตว์และสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง”
      65. วิลเลี่ยม คอล์ลินส์. ศาสตราจารย์ทางวิทยาศาสตร์โลกและดาวเคราะห์. มหาวิทยาลัยแห่งแคลิฟอร์เนีย, เบิร์คเล่ย์ สหรัฐอเมริกา ได้ชี้ให้เห็นแล้วว่าการเปลี่ยนแปลงอย่างทันทีของสภาวะอากาศที่เกิดจากมีเทน “โมเลกุลของก๊าซมีเทน ถูกขังอยู่ข้างในกรงของน้ำแข็งมีความเข้มข้นมาก จนเมื่อน้ำแข็งละลายพวกมันขยายถึง 164 เท่าของปริมาณที่แช่แข็งอยู่ และ มีความเข้มข้นมากกว่า 72 เท่าของคาร์บอนไดออกไซด์ ในฐานะก๊าซเรือนกระจก” อ่านพีเตอร์  พรีอุส. “ผลกระทบ: ปากทางของสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงทันที.” เบิร์คเล่ย์ แล้ป นิวส์ เล็ตเตอร์, 17 กันยายน 2008, http://newscenter.lbl.gov/featurestories/2008/09/17/impactson-the-threshold-of-abrupt-climate-changes/ 
      66. สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปล่อยมีเทนจากน้ำทะเล อ่าน คอร์เนลเลีย ดีน, “การศึกษาค้นคว้ากล่าวว่า การปล่อยก๊าซมีเทนใต้น้ำกำลังเกิดขึ้น,” เดอะนิวยอร์คไทม์ส, 4 มีนาคม 2010,  http://www.nytimes.com/2010/03/05/science/earth/05methane.html และ ไมเคิล ฟิตซ์แพตทริค, “การปล่อยมีเทน ดูรุนแรงมากขึ้น,” บีบีซี นิวส์, 6 มกราคม 2010, http://news.bbc.co.uk/2/hi/8437703.stm  สำหรับมีเทนที่ปล่อยออกมาจากทะเลสาบ อ่านเคตี้ เอ็ม วอลเตอร์เร็ต และผือื่นๆ, “การผลิตมีเทนและการปล่อยฟองอากาศ จากทะเลสาบอาร์คติก ความหมายทางไอโซโทปสำหรับแหล่งทางเดินและอายุ,” วารสารของการค้นคว้าทางวิชาธรณีฟิสิกส์ 113, http://www.fs.fed.us/pnw/pubs/journals/pnw_2008_Walter001.pdf  อ่าน เคตี้ เอ็ม วอลเตอร์ และอื่น ๆ , “มีเทนปุดจากทะเลสาบที่ละลายของไซบีเรีย เป็นผลตอบสนองที่เป็นทางบวกต่อสภาวะโลกร้อน,” เนเจอร์ (2006) 443 http://www.nature.com/nature/journal/v443/n7107/abs/nature05040.html 
      67. เคตี้ วอลเตอร์, “ทะเลสาบของไซบีเรียเรอออกมาเป็นระเบิดเวลาทำจากก๊าซเรือนกระจก,” ไซเอ็นส์เดลี่, 8 กันยายน 2006  http://www.sciencedaily.com/releases/2006/09/060908094051.htm  
      68. พีเตอร์ วอร์ด, “ผลกระทบจากน้ำลึก,” ไซเอ็นทิฟิค อเมริกัน, 8 กันยายน 2006, http://www.scientificamerican.com/article.cfm?id=impact-from-the-deep&sc=I100322  และโทรทัศน์สุพรีมมาสเตอร์, “เรียนรู้จากอดีต: การสูญพันธุ์หมู่และสภาวะโลกร้อนกับดร.พีเตอร์ วอร์ด,” 23 กันยายน 2009, http://suprememastertv.com/pe/?wr_id=87&page=4&page=4#v  และ เอล อาร์ คัมพ์, เอ เพฟลอฟ และเอ็ม เอ อาร์เธอร์, “การปล่อยครั้งใหญ่ของไฮโดรเจน ซัลไฟด์ สู่พื้นผิวมหาสมุทรและชั้นบรรยากาศในระหว่างช่วงภาวะขาดออกซิเจนของมหาสมุทร,” จีโอโลจี,  ชุดที่ 33 (2005), 397-400
      69. นักวิทยาศาสตร์ได้พบว่า อุตสาหกรรมปศุสัตว์ [รวมทั้งเนื้อสัตว์ ไข่ และผลิตภัณฑ์นม] มีส่วนรับผิดชอบต่อการปล่อยไนตรัสออกไซด์ทั่วโลกที่เกิดจากมนุษย์ ถึง 65%,” อ่าน สไตน์เฟล์ดและผู้อื่น, ไลฟ์สต็อค ลอง ชาโดว์, 114
      70. มีการศึกษาค้นคว้ามากมายได้ชี้ถึงปัญหาโดยเฉพาะจากศาสตราจารย์ไฮตอร์ อีแวนเจลลิสต้าและเพื่อนร่วมงานแห่งมหาวิทยาลัยรัฐจาเนโร ในบราซิล, ศาสตราจารย์ มาร์ค แจ็คซัน แห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ที่เบิร์คเลย์, กรีนพีซและเฟรนส์ออฟเอิร์ธ. อ่านข่าวรายงานโดยลอเร็น โมเรลโล, “ตัดการปล่อยเขม่าดำอาจจะทำให้สภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงช้าลงในอาร์คติก,” ไซเอ็นทิฟฟิค อเมริกัน, 2 สิงหาคม 2010, http://www.scientificamerican.com/article.cfm?id=cutting-soot-emissions-may-slow-climatechange-in-the-arctic  และโดย  แรนดี้ บอสเวลล์, “การศึกษา:เขม่าดำคือสาเหตุหลักของสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง,” ออตตาวา ซิติเซ็นต์, 1 สิงหาคม 2010, http://www.ottawacitizen.com/technology/Soot+second+leading+cause+
      climate+change+study/3349011/story.html?cid=megadrop_story#ixzz0vekfEf8s
       

      71. อ่าน “บทสัมภาษณ์ของดร. เคิร์ค สมิธ, ศาสตราจารย์จากสุขภาพสิ่งแวดล้อมโลก จากยูซี เบิร์คเล่ย์,” โทรทัศน์สุพรีมมาสเตอร์, 1 กรกฎาคม 2008, SupremeMasterTV.com/bbs/ tb.php/sos_video/21 
      72. โมนิก้า บรัคเนอร์, “โซนตายในอ่าวเม็กซิโก,”  http://serc.carleton.edu/microbelife/topics/deadzone 
      73. เอไอดับบลิวไอ และ ไอดับบลิวเอ็มไอ, “ประหยัดน้ำตั้งแต่ทุ่งหญ้าถึงส้อม” อ่านเนเจอร์รัล รีสอร์ตส ดีเฟ็นส์ เคาซิล, “ความจริงเกี่ยวกับมลพิษจากฟาร์มปศุสัตว์,” http://www.nrdc.org/water/pollution/ffarms.asp 
      74. โรเบิร์ต เจ ดีแอซ และรัตเกอร์ โรเซนเบิร์ก, “โซนตายกำลังแพร่ขยายและผลลัพธ์ที่มีต่อระบบนิเวศทางน้ำ”
      75. ดร.แอนดรู ยาคุน และเพื่อนร่วมงานของเขา, ดร. สคาร์ลา วีคส์ แห่งมหาวิทยาลัย ของเคพ ทาวน์ ในอาฟริกาใต้ ได้พบว่าการประมงปลาซาร์ดีนมากเกินในบริเวณชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของอาฟริกาอาจจะมีส่วนทำให้เกิดการระเบิดของก๊าซพิษสองชนิด – ไฮโดรเจน ซัลไฟด์, และมีเทน – จากพื้นมหาสมุทรแอตแลนติค ไฮโดรเจนซัลไฟด์ทำให้เกิดกลิ่นเน่าเหม็นที่เป็นปัญหา (และที่ฉงน) ของผู้อยู่อาศัยในชุมชนท้องถิ่น ในนามิเบีย ในขณะเดียวกันก็เป็นพิษต่อปลาและทำให้เกิดโซนตายที่ขาดออกซิเจนในน้ำ อ่านแอนดรู บาคุนและสคาร์ลา เจ วีตส์, “ก๊าซเรือนกระจกสะสม ปลาซาร์ดีน เรือดำน้ำระเบิด และความเป็นไปได้ของความเสื่อมอย่างรวดเร็วของระบบนิเวศน์น้ำลอยตัวที่รุนแรง,” อีโคโลจี เล็ตเตอร์ส (2004) ชุดที่ 7 ฉบับที่ 11, 1015-1023 http://woldlab.caltech.edu/~tristan/silence/bakun_2004_eco_letters.pdf 
      76. จาก โทมัส เลน “สำนักงานสหประชาชาติเตือนเรื่องการสูญเสียจากการประมง” สำนักข่าวบีบีซี  21 พฤษภาคม 2010  http://www.bbc.co.uk/news/10128900 
      77. เดวิด ไพเมนเทล นักนิเวศวิทยา และศาสตราจารย์ อีเมอริทัส แห่งมหาวิทยาลัยคอร์เนล ของสหรัฐอเมริกา เตือนว่า “ด้วย 87% ของจำนวนน้ำทั้งหมดที่ถูกใช้เพื่อการผลิตปศุสัตว์  ในไม่ช้าสหรัฐอเมริกาจะกลายเป็นประเทศที่มีภาวะตึงเครียดเรื่องน้ำ” ไพเมนเทลกล่าว “สหรัฐฯสามารถเลี้ยงดูประชากร 800 ล้านคนได้ด้วยธัญพืชที่สัตว์ในฟาร์มใช้กิน, นักนิเวศวิทยาของคอร์แนลชี้แนะต่อนักวิทยาศาสตร์ด้านสัตว์” ข่าววิทยาศาสตร์แห่งคอร์เนล 7 สิงหาคม 1997 http://www.news.cornell.edu/releases/aug97/livestock.hrs.html 
      78. ยกตัวอย่างของ แอนเน่ ไมนาร์ด “ไม่มีธารน้ำแข็งอีกต่อไปในสวนสาธารณะธารน้ำแข็งแห่งชาติ ภายในปี 2020 แล้วหรือ?” ข่าวภูมิศาสตร์แห่งชาติ 2 มีนาคม ปี 2009 http://news.nationalgeographic.com/news/2009/03/090302-glaciers-melting.html  สำหรับรายงานทางวิชาการ พบได้ที่ อาร์.ดี. มัวร์ เอท อัล “การเปลี่ยนแปลงของธารน้ำแข็งในอเมริกาเหนือตะวันตก: อิทธิพลทางอุทกวิทยา อันตรายทางธรณี และคุณภาพน้ำ” กระบวนการทางอุทกวิทยา 23 (2009), 42-61. DOI:10.1002/hyp.7162 http://www.glaciers.pdx.edu/fountain/MyPapers/MooreEtAl2009_GlacierChangeWaterRunoff.pdf  
      79. มีการศึกษาคุณภาพสูงในหัวข้อนี้ของ มาร์เซีย ครีทธ์, ข้อมูลของน้ำในแคลิฟอร์เนียจากฝ่ายการผลิตอาหารแห่งแคลิฟอร์เนีย ซึ่งจัดเตรียมให้กับมูลนิธิการศึกษาเรื่องน้ำแห่งซาคราเมนโต้ของแคลิฟอร์เนีย ปี 1991 http://www.sakia.org/cms/fileadmin/content/irrig/general/kreith_1991_
      water_inputs_in_ca_food_production-excerpt.pdf
       
       

      80. มาร์โลว์ เวสเทอร์บี้ และ เคนเนธ เอส. ครูป้า, การใช้ประโยชน์ส่วนใหญ่ของพื้นที่ในสหรัฐอเมริกา, 1997 (SB973) กันยายน 2001, http://www.ers.usda.gov/publications/sb973/sb973.pdf 
      81. อ่านได้ที่การประชุมของสหประชาชาติเพื่อการต่อสู้กับความแห้งแล้งเหมือนทะเลทราย (UNCCD), “สิบปีกับ: สหประชาชาติบันทึกวันแห่งโลกเพื่อต่อสู้กับความแห้งแล้งแบบทะเลทราย” 17 มิถุนายน 2004 http://www.unccd.int/publicinfo/pressrel/showpressrel.php?pr=press01_06_04 
      82. ยาคอฟ เซอร์ เอท อัล, ค่าใช้จ่ายในการชลประทาน: หลักการและกรณีต่างๆจากประเทศที่พัฒนาแล้ว 220
      83. จูเลียต เกลแลตลี่ย์ และโทนี่ ฮาร์เดิล, บทสรุปเงียบ: การเปิดเผยอันเย็นชาของเนื้อสัตว์. บริษัทตีพิมพ์หนังสือ ฮาร์เปอร์ คอลลินส์ 1996 
      84. ฮาร์วีย์ แบลท, อาหารของอเมริกา: สิ่งที่คุณไม่ทราบเกี่ยวกับสิ่งที่คุณรับประทาน. บอสตั้น: นิตยสาร เอ็มไอที, 2008, 136 
      85. จาก “วิทยาศาสตร์และทางแก้ไขเรื่องภาวะโลกร้อน” โทรทัศน์สุพรีมมาสเตอร์, สิงหาคม 2008 SupremeMasterTV.com/bbs/tb.php/sos_video/16 
      86. สืบเนื่องจากนักวิทยาศาสตร์ของ ไอพีซีซี, การทำลายป่าหรือการถางป่า มีส่วนทำให้เกิดการปล่อยก๊าซ GHG ขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศของโลก นับจาก 17.4% ไปจนถึงหนึ่งในสามของโลก. อ่านได้ที่ IPCC รายงานการประเมินครั้งที่ 4, รายงานเชิงวิเคราะห์, ส่วนที่ 2, หน้า 36 และรายงานของคณะทำงาน, ส่วนที่ 7 หน้า 527 
      87. จอห์น รอบบิ้นส์, อาหารเพื่ออเมริกายุคใหม่, บทความจาก http://whitt.ca/soapbox/vegetarian.html 
      88. จูลี่ เด็นสโลว์ และ คริสทีน พาดอช, ประชากรแห่งป่าฝนเขตร้อน. เบิร์คเลย์: มหาวิทยาลัยแห่งแคลิฟอร์เนีย ฉบับปี 1988, 169 
      89. อ่านที่ กรีนพีซ สหราชอาณาจักร “ป่าฝนคองโก้ในแอฟริกากลาง” http://www.greenpeace.org.uk/forests/congo 
      90. การศึกษาโดยสถาบันโรเดล ของประเทศอเมริกา “ถึงแม้ว่าสภาพภูมิอากาศและชนิดของดินมีผลกระทบต่อขีดความสามารถในการแยกตัว (ของก๊าซคาร์บอน) สิ่งเหล่านี้ได้ทวีคูณความพยายามในการค้นคว้าเพื่อตรวจสอบความจริงที่ว่าการเกษตรอินทรีที่นำมาใช้ปฏิบัติ หากว่ามีการลงมือทำบนพื้นที่เพาะปลูกของโลกในขนาด 3 – 5 พันล้านเอเคอร์”  อ่านได้ที่ ทิมอร์ที่ย์ ลาซาล และ พอล เฮปเพอร์ลี่ “การปฏิรูปฟาร์มอินทรี: ทางแก้ไขของภาวะโลกร้อน” 2008 มีออนไลน์ที่ http://www.rodaleinstitute.org/files/Rodale_Research_Paper-07_30_08.pdf  
      91. ในการสัมภาษณ์กับโทรทัศน์สุพรีมมาสเตอร์ ศาสตราจารย์ ด้านธรณีฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยชิคาโก้ ดร. เดวิด อาร์เชอร์ แถลงว่า “มันเป็นที่แน่ชัดว่าเมื่อคุณปลูกธัญพืชและนำมาเลี้ยงพวกสัตว์และต่อมาก็กินพวกสัตว์  คุณได้สูญเสีย 90% ของพลังงานจากธัญพืชแบบดั้งเดิม และดังนั้นไม่เพียงแค่คุณสามารถเลี้ยงประชากรได้น้อยกว่าในแบบการเกษตรที่คุณมีอยู่ แต่ว่าพวกเขายังค้นพบด้วยว่ามันต้องใช้พลังงานเชื้อเพลิงธรรมชาติเพิ่มขึ้นจำนวนมากในการทำให้สิ่งนั้นเกิดขึ้นได้ “ อ่านได้จาก สุพรีมมาสเตอร์ทีวี “วิทยาศาสตร์และทางแก้ไขเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ” http://suprememastertv.com/bbs/board.php?bo_table=sos_video&wr_id=16 อีกทั้ง องค์การพิทักษ์โลกแห่งนานาชาติได้สรุปถึงค่าใช้จ่ายที่สูงในการผลิตเนื้อสัตว์ดังนี้ “12 ปอนด์ของธัญพืช: ใช้ทำขนมปังได้ 8 แถว หรือสปาเก็ตตี้สองจาน.  55 ตารางฟุตของป่าฝน: สำหรับเนื้อวัวจากป่าฝนทุกๆหนึ่งปอนด์ โดยประมาณ 600 ปอนด์ ของสิ่งล้ำค่า สิ่งมีชีวิตที่ถูกทำลาย รวมถึง 20 – 30 ชนิดของพันธุ์พืช มากกว่า 100 สายพันธุ์แมลง และเผ่าพันธุ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์เลื้อยคลานหลายสิบชนิด น้ำ 2500 แกลลอน: สิ่งนี้อาจนำมาใช้ในการปลูกผลไม้และพืชผักได้มากกว่า 50 ปอนด์” อ่านที่ องค์การพิทักษ์โลกแห่งนานาชาติ “ป้ายแฮมเบอร์เกอร์” http://www.earthsave.org/support/hamburgerSMALL.pdf 
      92. จอห์น รอบบิ้นส์, อาหารเพื่ออเมริกายุคใหม่: การเลือกอาหารของคุณมีผลกระทบต่อสุขภาพ ความสุข และอนาคตในชีวิตบนโลกของคุณอย่างไร ทิบูรอน:เอ็ช.เจ. คราเมอร์, 1987, 367 
      93. นี่คือจำนวนและสถิติบางประการ: สืบเนื่องจากการศึกษาโดยสหภาพนานาชาติเพื่อการสนทนาเรื่องธรรมชาติ, 30% ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม  นก และพันธุ์สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ กำลังถูกคุกคามให้สูญพันธุ์ เนื่องจากการกระทำของมนุษย์  อ่านได้ในรายงานการประเมินระบบนิเวศน์แห่งสหัสวรรษ ปี 2005 http://maweb.org/en/Reports.aspx มากกว่าหนึ่งล้านเผ่าพันธุ์จะสูญสิ้นในอีก 50 ปีข้างหน้า  ยิ่งไปกว่านั้น ในหมู่ 45,000 สายพันธุ์ที่ถูกจับตามองโดย IUCN  มี 40% ที่ถูกคุกคามจนสูญพันธุ์ภายในปี 2008  อ่านได้ใน “การเปิดเผยบัญชีแดงของ IUCN เรื่องวิกฤตของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในโลก” การเสนอข่าวของ IUCN วันที่ 6 ตุลาคม ปี 2008 http://www.iucn.org/search.cfm?uNewsID=1695 
      94. สำนักงานบัญชีแห่งสาธารณะ ได้ดีพิมพ์นานมาแล้วว่าการปศุสัตว์ทั้งหมดก่อให้เกิดการสิ้นเปลืองมากกว่าที่มนุษย์ทำถึง 130 เท่า การเลี้ยงสุกรสร้างของเสียมากกว่าที่มนุษย์ทำถึงสามเท่า และการเลี้ยงวัวสร้างของเสียมากกว่าที่มนุษย์ทำถึง 21 เท่า อ่านได้ใน ปฏิบัติการเรื่องการจัดการของเสียทางปศุสัตว์ ปี 1999 http://www.gao.gov/archive/1999/rc99205.pdf 
      95. เอฟ. แอคเกอร์แมน และ อี. เอ. สแตนตั้น, ค่าใช้จ่ายจากการล่าช้า ในเรื่องสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง: รายงานจากมิตรของโลก ในอังกฤษ, เวลส์ และ ไอร์แลนด์เหนือ ปี 2006 http://www.foe.co.uk/resource/reports/econ_costs_cc.pdf  อีกทั้งหาอ่านได้ที่ เอฟ. แอคเกอร์แมน เรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ: ค่าใช้จ่ายของความล่าช้า: หลักฐานที่นำเสนอต่อ: คณะกรรมการรัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกาด้านพลังงานและการพาณิชย์ ปี 2009  http://www.e3network.org/opeds/Ackerman_testimony_April22.pdf  
      96. จาก บี. บาร์เร็ต และ เอ. ลิม “ญี่ปุ่นทุกข์ยากอย่างหนักกับค่าใช้จ่ายเรื่องภูมิอากาศ”  โลกของเรา 2.0 (มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ) วันที่ 30 มิถุนายน ปี 2009 http://ourworld.unu.edu/en/japanexamines-costs-of-climate-change/ 
      97. การประมาณค่าใช้จ่ายของภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง 40 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2050 เป็นไปตามโมเดลจากสเตอร์น รีวิว สำหรับประโยชน์ของการทานอาหารวีแก้นตามการประมาณนี้ โปรดดูที่ เอลเค้ สเตห์เฟสต์ และคณะ http://www.pbl.nl/en/publications/2009/Climate-benefits-of-changing-diet.html 
      98. อ่าน “โรคหัวใจและสถิติการเต้นของหัวใจ ปี 2010 ข้อมูลปัจจุบัน: รายงานจากสมาคมหัวใจแห่งอเมริกา” จดหมายเวียน; 121; e46-e215 p. e206 http://circ.ahajournals.org/cgi/content/full/121/7/e46 
      99. อ่านที่ศูนย์กลางเพื่อการศึกษาด้านการควบคุมและป้องกันโรค “เบาหวาน: ความสำเร็จและโอกาสเพื่อประชากรในการป้องกันและควบคุมขั้นพื้นฐาน:  การเฝ้าดู ปี 2010http://www.cdc.gov/chronicdisease/resources/publications/aag/ddt.htm อีกทั้ง เอฟ.จี. แจนสแมน เอท อัล “การพิจารณาค่าใช้จ่ายในการรักษามะเร็งลำไส้” นักเภสัชศาสตร์  No. 25 (2007), 537-562  ข้อสรุปเชิงทฤษฏีมีออนไลน์ที่ http://ideas.repec.org/a/wkh/phecon/v25y2007i7p537-562.html 
      100. ข้อความเหล่านี้จากการสัมภาษณ์ระหว่างท่านอนุตราจารย์ชิงไห่กับผู้สื่อข่าว เบ็น เมอร์เนน ในวันที่ 7 กรกฏาคม ปี 2009 การสัมภาษณ์ถูกตีพิมพ์ในวันที่ 12 กรกฏาคม ปี 2009 ฉบับของ Irish Sunday Independent ในไอร์แลนด์ ภายใต้หัวข้อ “เสียงเรียกด่วนเพื่อรักษาโลกของเรา”  อ่านบทสัมภาษณ์ในวีดีโอ: http://www.suprememastertv.com/wow/?wr_id=365&page=9&page=9#v 
      101. การเฝ้าระวังอาหาร: ออแกนิก: ผู้ช่วยให้รอดเรื่องภูมิอากาศหรือ? รายงานเรื่องการเฝ้าระวังด้านอาหาร ที่มีผลกระทบเรื่องก๊าซเรือนกระจก จากการทำฟาร์มแบบเดิม และฟาร์มเกษตรอินทรีในเยอรมัน เดือนพฤษภาคม 2009 http://foodwatch.de/foodwatch/content/e6380/e24459/e24474/foodwatch_
      report_on_the_greenhouse_effect_of_farming_05_2009_ger.pdf
       

      102. ในบทเดียวกัน
      103. อ่าน โกว์รี โคเนสวาราน และ แดเนียล นีเรนเบิร์ก “การผลิตปศุสัตว์ทั่วโลก และภาวะโลกร้อน: ผลกระทบและการบรรเทาภาวะภาวะโลกร้อน” (ภาคส่วนการหารือ) ทัศนคติด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ,  (พฤษภาคม 2008) ): 578-582,  http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2367646
      104. วิลเลี่ยม แลมเบอรส์ “25,000 คน ตายจากความหิวในแต่ละวัน” เครือข่ายข่าวประวัติศาสตร์ (มหาวิทยาลัยจอร์จ เมสัน) 7 ตุลาคม ปี 2007 http://hnn.us/articles/27396.html 


      บทที่ 4

      105. ที่การสัมมนาวีดีทัศน์ ซึ่งจัดขึ้นเมื่อกลางเดือนมกราคม ปี 2008 ในลอสแองเจิลลิส ของสหรัฐอเมริกา ท่านอนุตราจารย์ชิงไห่ ได้ตอบคำถามเกี่ยวกับว่า ข้อมูลใดที่ท่านจะมอบให้แก่ผู้นำของโลก ย่อหน้านี้เป็นส่วนหนึ่งของคำตอบจากท่าน 
      106. ในเดือนกันยายน 2010 ประเทศที่ออกกฎหมายห้ามบุหรี่มีถึง 94 ประเทศ 
      107. สถาบันเวิร์ล วอทช์ “เรื่องของขนาด-ราคาของเนื้อวัว” นิตยสารเวิร์ลวอช เดือนก.ค./ส.ค. 1994 อ่านได้ทางออนไลน์ที่ http://www.worldwatch.org/node/791 
      108. หลายปีมานี้ เงินอุดหนุนฟาร์มยังคงสูงในสหรัฐอเมริกา แม้ในปีที่มีกำไร รัฐบาลสหรัฐฯจ่ายเงินอุดหนุนประมาณ 20-25 พันล้านดอลลาร์ ในแต่ละปี  ให้แก่เจ้าของฟาร์มโดยตรง  รายงานของ USDA 2006 งบประมาณประจำปี เฉพาะเงินอุดหนุนธัญพืชเลี้ยงสัตว์ก็มากกว่า 35% ของทั้งหมดนี้ ระหว่างปี 2003-2004 สหรัฐฯใช้เงิน 3.6 พันล้านดอลลาร์สำหรับข้าวโพดและถั่วเหลืองที่เลี้ยงสัตว์ในแต่ละปี ซึ่งทำให้ธัญพืชอาหารสัตว์มีต้นทุนที่ต่ำ   ดูนโยบายสถาบันการค้าและการเกษตร, โครงการรัฐบาลโลกและการค้า, “ธัญพืชเลี้ยงสัตว์ต่ำกว่าต้นทุน: เงินอุดหนุนโดยตรงสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมสัตว์” มิถุนายน 2006 http://www.worc.org/userfiles/IATP%20cheap%20grain.pdf 
      109. โรงฆ่าสัตว์: เรื่องที่น่าตกใจของความโลภ, ความเพิกเฉยและความไร้มนุษยธรรมภายในอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์สหรัฐฯ โดยกาอิล เอ.ไอส์นิทซ์ (สมาคมฮิวแมนฟาร์มมิ่ง 2006) ชี้ให้เห็นว่าแฮมเบอร์เกอร์หนึ่งชิ้นมาจากส่วนต่างๆของวัว 100 ตัว และวัวหนึ่งตัวที่ติดเชื้อสามารถไปปนเปื้อนในเนื้อวัวถึง 16 ตัน 
      110. บทบรรณาธิการอัลเตอร์เน็ตด็อตโออาร์จี “เจ็ดเรื่องที่น่ากลัวของเกษตรอุตสาหกรรม” 5 กันยายน 2002 http://www.alternet.org/story/13904 
      111. ในปี 2008 สวนออแกนิกสิบเอ็ดแห่งมีขึ้นแล้วในเขตเมือง; ยกตัวอย่าง ดูเฮเลน กิลเบย์ “แอฟริกาใต้: เคปทาวน์ปลูกผักออแกนิก” ออลแอฟริกาด็อทคอม 14มกราคม 2008  http://www.regoverningmarkets.org/en/news/southern_africa/south_
      africa_cape_town_goes_organic.html
       และดู “จากกราวด์อัพ: สวนแบบออแกนิกเร่งการปฏิวัติอาหาร” ออลแอฟริกาด็อทคอม 9 มกราคม 2008 http://allafrica.com/specials/organic_food_sa 

      112. ปุ๋ยนำเข้าชนิดใหม่จากทันซาเนียช่วยเกษตรกรเคนยาให้ลดสภาพกรดในดิน และเพิ่มผลผลิตธัญพืชต่อเฮกตาร์ได้ถึง 30 เปอร์เซนต์ เช่นข้าวโพด  ผลผลิตการเกษตรของอูกันดาคาดว่าจะเพิ่มขึ้นหลังจากที่เกาหลีรับปากเมื่อเร็วๆนี้ในการสร้างโรงงานปุ๋ยออแกนิกที่นั่น ดูกระทรวงเกษตร สาธารณรัฐเคนยา “เกษตรกรได้ผลผลิตมากที่สุดจากปุ๋ยออแกนิก” http://www.kilimo.go.ke/index.php?option=com_content&view=article&catid=149%3Anews&id=266%3Afarmers-to-reap-maximum-benefits-fromorganicfertilizer&Itemid=46 
      113. “อาหารออแกนิกถือว่าเป็นช่องทางตลาดและหรูสำหรับผู้บริโภคที่มีอันจะกิน  อย่างไรก็ตามนักวิจัยในเดนมาร์กพบว่ามันไม่มีผลกระทบเสียหายร้ายแรงใดๆต่อความปลอดภัยด้านอาหารสำหรับแอฟริกาแถบใต้ซาฮาร่า ถ้า 50% ของที่ดินเกษตรในเขตส่งออกอาหารของยุโรปและอเมริกาเหนือเปลี่ยนเป็นออแกนิกภายในปี 2020” ดู “นักวิจัย: ออแกนิกจะไม่ทำร้ายแหล่งผลิตอาหารโลก” ยูเอสเอ ทูเดย์ 5 พฤษภาคม 2007 ftp://ftp.fao.org/paia/organicag/OFS/press4.pdf 
      114. ข้อมูลจาก IFOAM ตลาดโลกเวลานี้สำหรับอาหารและเครื่องดื่มออแกนิกมีมูลค่าประมาณ 50 พันล้าน US$ และเพิ่มขึ้นปีละ 10-20 เปอร์เซ็นต์ตั้งแต่ปี 2000-2007 ส่วนนี้ทำให้มีโอกาสส่งออกที่พิเศษสำหรับหลายๆประเทศที่กำลังพัฒนา เพราะ97 เปอร์เซนต์ผลิตอยู่ในประเทศในเครือ OECD ขณะที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของผู้ผลิตอยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนาในแอฟริกา, เอเชีย และลาตินอเมริกา ดู UNEP “เกษตรออแกนิกในอูกันดา” http://www.unep.org/greeneconomy/SuccessStories/Organic
      AgricultureinUganda/tabid/4655/language/en-US/Default.aspx
        และดู UNEP “สิ่งแวดล้อม-การปฏิวัติเขียว กุญแจสู่ความปลอดภัยด้านอาหารในแอฟริกา” เพรส รีลีส 14 พฤษภาคม 2009 http://www.grida.no/news/press/3680.aspx

      115. ไอเวตต์ เปอร์เฟคโต และอื่นๆ “เกษตรออแกนิกและแหล่งผลิตอาหารโลก” เกษตรแผนใหม่และระบบอาหาร 22 (2007): 86-108 http://agr.wa.gov/Foodanimal/Organic/Certificate/2008/NewsRelease/BadgleyResearchPaper.pdf 
      116. “ฟาร์มออแกนิก ดีที่สุดสำหรับสัตว์ป่า” ข่าวบีบีซี 3 สิงหาคม 2005 http://news.bbc.co.uk/2/hi/uk_news/4740609.stm
      117. ดู อัลเมเยอร์ฮอฟฟ์ “การสูญเสียผึ้งนับพันล้านตัว คำถามเกี่ยวกับการควบคุมยาฆ่าแมลง” ลอสแองเจลิส ไทมส์ 30 กรกฎาคม 2008 http://beediary.wordpress.com/tag/ccd 
      118. ทิโมธี ลาแซล “เกษตรออแกนิก สามารถหยุดภาวะโลกร้อน” เดอะ ทรี ฮักเกอร์ 10 ตุลาคม 2010 http://www.treehugger.com/files/2009/10/organicfarming-could-stop-global-climate-change.php 
      119. ซี.เบนบรูค “วิธีง่ายๆแก้ปัญหาความเสี่ยงจากยาฆ่าแมลง: ทางเลือกออแกนิก” การตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ของศูนย์ออแกนิก 8 มีนาคม 2008 http://www.organic-center.org/reportfiles/Organic_Option_Final_Ex_Summary.pdf 
      120. เอฟเอโอ เกษตรออแกนิกและความปลอดภัยด้านอาหาร (2007) ftp://ftp.fao.org/paia/organicag/ofs/OFS-2007-5.pdf 
      121. ดูหมายเหตุที่ 14 อ้างถึงงานวิจัยโดยหน่วยงานประเมินผลสิ่งแวดล้อมเนเธอร์แลนด์ เพื่อให้คำแนะนำแก่รัฐบาลเนเธอร์แลนด์และการตั้งนโยบายระหว่างประเทศ 
      122. ดูงานวิจัยของยูเอ็นกองทุนระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาเกษตร (IFAD) “การเปลี่ยนมาทำเกษตรออแกนิกของเกษตรกรรายย่อยในลาตินอเมริกาและแคริบเบียน” เมษายน 2003 รายงานหมายเลข 1337 http://www.ifad.org/evaluation/public_html/eksyst/doc/thematic/pl/organic.htm 
      123. ดูหมายเหตุที่ 14, 119 
      124. ดู จอห์น ร็อบบินส์ “เจ้าของฟาร์มหมู” เมษายน 2010 ทางออนไลน์ที่ http://www.johnrobbins.info/blog/the-pig-farmer และดู จอห์น ร็อบบินส์ การปฏิวัติอาหาร: อาหารของคุณสามารถช่วยชีวิตคุณและโลกของเราได้อย่างไร 
      125. ดู รัฐสภายุโรป “2050 อนาคตเริ่มวันนี้- คำแนะนำสำหรับนโยบายแบบบูรณาการต่อภาวะโลกร้อนของสหภาพยุโรปในอนาคต” 2 เมษายน 2009 http://www.europarl.europa.eu/oeil/file.jsp?id=5626312 
      126. ดู เจนส์ โฮลมส์ “รัฐสภาสหภาพยุโรปเรียกเนื้อสัตว์ว่าตัวคุกคามสภาพอากาศ” 4 กุมภาพันธ์ 2009 http://jensholm.se/2009/02/04/the-eu-parliament-calls-meat-a-climate-threat 
      127. ดู คริส แมสัน “เมืองในเบลเยี่ยมวางแผน วันมังสวิรัติ” ข่าวบีบีซี 12 พฤษภาคม 2009 http://news.bbc.co.uk/2/hi/europe/8046970.stm 
      128. ดู แคนดร้า มาลิค “เจ้าชายชาร์ลส์ทรงมอบ 2.8 พันล้านดอลลาร์ เพื่ออนุรักษ์ป่าเขตฝน” 30 กรกฎาคม 2009 http://www.thejakartaglobe.com/news/prince-charles-gives-28b-topreserve-rain-forests/321249 
      129. ดู “ใครจะกินอาหารคาร์บอนต่ำ?” กรรมาธิการพัฒนาแบบยั่งยืน (ไอร์แลนด์เหนือ) 18 มิถุนายน 2009 http://www.sd-commission.org.uk/news.php/246/ireland/whos-up-for-a-low-carb-diet 
      130. ในหนังสือเล่มเดียวกัน 
      131. อ้างอิงถึงหนังสือตัวอย่างของดาร์ดสาขาการจัดการชนบท หัวข้อ รหัสของการทำเกษตรที่ดี สิงหาคม 2008 ซึ่งแนะนำการจัดการที่ดีเพื่อเลี่ยงการเกิดมลภาวะในน้ำ, ในอากาศ และในดิน http://www.dardni.gov.uk/code_of_good_agricultural_practice_cogap_august_2008.pdf 
      132. ดู สภานิติบัญญัติของรัฐฮาวาย “การขอร้องผู้บริหารการศึกษาเพื่อพัฒนานโยบายให้มีทางเลือกอาหารมังสวิรัติและวีเก้นอยู่ในเมนูอาหารทั้งหมดในโรงเรียน” รายงาน HCR59 HD1 ที่เสนอเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2009 http://www.capitol.hawaii.gov/session2009/Bills/HCR59_HD1_.HTM 
      133. ดู เมืองซินซินแนติ แผนลงมือป้องกันสภาพอากาศ-แผนซินซินแนติสีเขียว 19 กรกฎาคม 2008 , 35, 209-211 ดูได้ทางออนไลน์ที่ http://www.cincinnati-oh.gov/cmgr/downloads/cmgr_pdf18280.pdf 
      134. เจนนิเฟอร์ ดั๊ค “เอาเบคอนกลับบ้าน- แบบวีเก้น” ข่าวเอบีซี 4 พฤษภาคม 2007 http://abcnews.go.com/Politics/story?id=3139687&page=1 และดู “เดนนิส คูซินิค ฉลองวันเอิร์ธเดย์วีเก้น พร้อมกับข่าวสารพิเศษของมังสวิรัติ” http://vegdaily.com/2009/07/dennis-kucinich-celebrates-vegan-earth-day-with-aspecial-veggie-message/ 
      135. เจสัน โธมัสซินิ “สมาชิกวุฒสภาเป็นมังสวิรัติหนึ่งสัปดาห์” กาเซตต์ด็อทเน็ต 29 เมษายน 2009 http://www.gazette.net/stories/04292009/takonew183650_32520.shtml และดู เคลี่ ฮาร์เลส “การปฏิวัติของรัสคิน” เวจนิวส์ด็อทคอม 4 พฤษภาคม 2007 www.vegnews.com/web/articles/page.do?pageId=688&catId=1 
      136. วันจันทร์ปลอดเนื้อสัตว์ “โรงเรียนบัลติมอร์สนับสนุนการปลอดเนื้อสัตว์”  http://www.meatlessmonday.com/baltimore-schools
      137. สมาคมมังสวิรัติ ซานฟรานซิสโก “ซานฟรานซิสโกเป็นเมืองแรกในสหรัฐฯที่ประกาศให้วันจันทร์เป็น วันมังสวิรัติ” 7 เมษายน 2010 http://www.vegsource.com/news/2010/04/san-francisco-is-first-us-city-to-declare-mondays-as-veg-day.html 
      138. ดู ศูนย์ข้อมูลสิ่งแวดล้อมไต้หวัน “คนนับล้านลงชื่อลดภาวะโลกร้อนด้วยการกินอาหารมังสวิรัติ” (ภาษาจีน) http://e-info.org.tw/node/33565 


      บทที่ 5

      139. การสำรวจระดับประเทศในการให้, การอาสาสมัคร และการมีส่วนร่วม (NSGVP)  สแตทิสติก แคนาดา สัมภาษณ์ชาวแคนาเดียน 2,389 คน อายุ 15-24 ปี ดู ซูซาน เพดเวลล์ “ฉันต้องการทำสิ่งที่แตกต่าง” นิตยสารแคนาเดียน ลีฟวิ่ง http://www.canadianliving.com/life/community/i_want_to_make_a_difference.php  
      140. การวิจัยของเวิร์ล วอทช์  อุตสาหกรรมปศุสัตว์มีส่วนแพร่ก๊าซเรือนกระจก  51% บนโลก. ดูหมายเหตุที่ 3 
      141. ดูหมายเหตุที่ 90 หน้า 1 
      142. ดู สมาคมผู้ผลิตเนื้อสุกรรัฐไอโอวา “USDA ซื้อเนื้อหมูมากขึ้น” 11 พฤศจิกายน 2009 http://www.iowapork.org/Newsroom/NewsForProducers/USDAporkbuy/tabid/1504/Default.aspx และดู แคปิตอล พอร์ก รีพอร์ท (พฤศจิกายน 2009) ของกรรมาธิการผู้ผลิตเนื้อสุกรในประเทศ (NPPC) http://nppc.org/uploadedfiles/cprNOV-6.pdf 
      143. ในหนังสือเล่มเดียวกัน 
      144. ข้อแนะนำอื่นๆอีกมากมายสำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดูได้ที่เว็บไซต์ของโทรทัศน์สุพรีมมาสเตอร์ 
      145. ยกตัวอย่าง ดูสารคดีในสุพรีมมาสเตอร์ทีวี “ไม่ต้องใช้น้ำ! การทำเกษตรแบบแห้งในเอาหลัก (เวียดนาม)” ฟรีทางออนไลน์ ที่ http://www.suprememastertv.com/bbs/tb.php/pe/79 และ “ปลูกผลไม้และผักในดินทรายที่เอาหลัก (เวียดนาม)” SupremeMasterTV.com/bbs/tb.php/pe/72 
      146. ลิงค์ที่เชื่อมโยงคือ SupremeMasterTV.com/sos-flyer 
      147. ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2008 ร้านอาหารวีเก้น เลิฟวิ่งฮัท มี 221 สาขาทั่วโลก เมื่อปลายเดือนมกราคม 2011

    บทที่ 1.
    บทที่ 2.
    บทที่ 3.
    บทที่ 4.
    บทที่ 5.
    บทที่ 6.


    Copyright © The Supreme Master Ching Hai. All rights reserved. *